“ผู้เขียนขอเสนอแนวคิดเกี่ยวกับที่มาที่ไปและความแตกต่างของคำว่า ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) ทุนมนุษย์ (Human Capital) และ ศักยภาพสูงสุดของความเป็นมนุษย์ (Human Potentiality) เพราะสิ่งนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการกำหนดนโยบายที่ส่งเสริมและให้คุณค่าในการพัฒนามนุษย์ 

การทำงานเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับมนุษย์ทุกคน เมื่อเราเติบโตพ้นวัยเด็ก เราจะเข้าสู่ “วัยทำงาน” ซึ่งเป็นช่วงวัยที่ยาวนานที่สุด อาจจะมากกว่าครึ่งชีวิต ในการทำงานถ้าทำงานเพื่อเงิน โดยที่ไม่เห็นคุณค่าหรือไม่ได้ชอบงานที่ทำ ย่อมไม่มีความสุขในการทำงาน และถ้าเราไม่สามารถบูรณาการระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัวได้อย่างกลมกลืน อย่างมีประสิทธิภาพ แม้มีเวลามากก็อาจไม่ประสบความสำเร็จในชีวิตได้

ผมปรารถนาจะเห็นประเทศไทย มีนโยบายและแนวทางใหม่ๆ ที่ไม่ใช่ประชานิยม ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาความยากจน ให้คนยากจนหมดไปจากประเทศไทยได้อย่างแท้จริง ที่ผ่านมา ผมได้นำเสนอ โมเดลตาข่าย 3 ชั้น (Poverty Solution Model) เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนให้หมดไป

ผู้เขียนเป็นคนหนึ่งที่สนับสนุน ยุทธศาสตร์การสร้าง คนดี คนเก่ง คนกล้า ซึ่งมองว่าสิ่งนี้เป็นประเด็นสำคัญของประเทศ และก็เป็นฟันเฟืองหนึ่งที่ช่วยขับเคลื่อนให้เกิดผลในภาคปฏิบัติ ผ่านทาง งานบรรยาย บทความ และหนังสือ 

การสร้างทายาทเป็นปัจจัยความสำเร็จที่ยั่งยืนขององค์กร ซึ่งหลายองค์กรประสบความสำเร็จ แต่ประสบปัญหาไม่สามารถยืนระยะอยู่ได้ยาวนาน เนื่องจากปัจจัยสำคัญประการหนึ่งคือ การขาดทายาทรับช่วงต่อ โดยมีคำกล่าวของชาวจีนที่เล่าต่อ ๆ กันมาว่า “ไม่เกิน 3 ชั่วคน จะเกิดการเปลี่ยนแปลง” หมายความว่า องค์กรธุรกิจหรือองค์กรประเภทใด ๆ ก็ตาม ไม่อาจรุ่งเรืองมั่นคงไปได้เกิน 3 รุ่น การรักษาองค์กรให้มั่งคั่งและมั่นคงมีอายุยืนยาวนับ 100 ปี หรือมากกว่า 3 รุ่นขึ้นไป นับเป็นความท้าทายอย่างยิ่งสำหรับผู้นำองค์กร เพราะองค์กรจะต้องฝ่าฟันและก้าวข้ามสถานการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ ความถดถอยตามวัฏจักรธุรกิจ กระแสการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองโลก การปฏิวัติทางเทคโนโลยีรวมถึง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการเกิดโรคระบาด จะเห็นว่า ทายาท คือ บุคคลสำคัญที่จะทำให้องค์กรคงอยู่หรือหายไป การสร้างทายาทจึงเป็นปัจจัยความอยู่รอดขององค์กร เราจะสร้างทายาท เพื่อสร้างองค์กรให้อย่างยั่งยืนได้อย่างไร ผมจึงเสนอแนวทางการสร้างทายาท เพื่อสร้างองค์กรยั่งยืน 3 ประการ ดังนี้

บทความตอนที่สองในชุด การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในยุคหลังโควิด ที่ผู้เขียนขอเสนอ ยุทธศาสตร์ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ได้นำแนวทางนี้ไปสร้างประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ประสบความสำเร็จจริงๆ 

ข้อจำกัดในการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชน ที่ผู้ประกอบการในชุมชนควรเข้าใจ เพื่อจะสามารถพัฒนาเป็นผู้ประกอบการที่ดีขึ้น ซึ่งอาจเป็นตัวช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนได้อย่างแท้จริง และช่วยสร้างโอกาสในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจชุมชนในช่วงหลังการระบาดของโควิด 

ผู้เขียนขอประเมิน โอกาสและความจำเป็นในการร่วมมือระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป ทั้งด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง จากสภาวะภูมิรัฐศาสตร์โลกที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ทั้ง 2 ภูมิภาคต้องเร่งยกระดับความร่วมมือระหว่างกันให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น 

“ผู้เขียนขอชี้ให้เห็นถึงโอกาสของธุรกิจไทยในการสร้างความร่วมมือกับอินเดีย ผลักดันการค้าและการลงทุน ความร่วมมือพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี เพิ่มโอกาสของคนไทย ยกระดับแรงงานในประเทศ

ผลจากสงครามเย็น ทำให้สหรัฐฯ เข้ามาควบคุมตอนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี โดยทางตอนเหนืออยู่ภายใต้การควบคุมของโซเวียต ซึ่งท้ายสุดแล้ว นำไปสู่การแยกประเทศเป็นเกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้ เมื่อ พ.ศ. 2491