จริยธรรม

**สรุปคำบรรยายในการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การวิจัยกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเยาวชนไทย วันที่ 6 กันยายน 2550 ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารจันทรากาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ศ.ดร. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ความก้าวหน้ายิ่งใหญ่ที่สุดของมนุษยชาติไม่ได้อยู่ในสิ่งที่เขาค้นพบ -- แต่อยู่ที่ว่าเขาได้นำสิ่งที่เขาค้นพบนั้นมาประยุกต์ใช้เพื่อลดความไม่เท่าเทียมกันในสังคม ไม่ว่าจะโดยผ่านระบบประชาธิปไตย ระบบการศึกษาที่เข้มแข็ง ระบบสาธารณสุขที่มีคุณภาพ หรือโอกาสทางเศรษฐกิจที่เปิดกว้างขึ้น ndash; การลดปัญหาความไม่เท่าเทียมนับเป็นความสำเร็จสูงสุดของมนุษย์rdquo;
 
วาทะของ บิล เกตส์ (Bill Gates) เจ้าของบริษัทไมโครซอร์ฟ กล่าวเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2550 ที่ผ่านมา ในวาระท
ในปัจจุบัน แม้ว่าหลายประเทศในโลกมีความพยายามเจรจาเขตการค้าเสรีระหว่างกันมากขึ้น เพื่อลดกำแพงภาษีและขจัดอุปสรรคทางการค้า แต่ในขณะเดียวกันประเทศเหล่านี้มีความพยายามนำเอามาตรการกีดกันทางการค้ามาใช้มากขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non-Tariff Bearrior: NTB) โดยนำประเด็นทางสังคมต่าง ๆ มากำหนดเป็นมาตรฐานทางการค้าระหว่างประเทศ เช่น มาตรฐานแรงงาน มาตรฐานสิ่งแวดล้อม และมาตรฐานด้านทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น
สังคมในปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้น การสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดขึ้นในหมู่เยาวชนและคนในสังคม จึงเป็นเรื่องที่จำเป็น เนื่องจากการแยกแยะเรื่องความถูกผิด ไม่ได้จำกัดกรอบอยู่เพียงข้อกฎหมาย หรือข้อตกลงทางสังคม บางเรื่องอาจถูกต้องในแง่ของกฎหมาย แต่อาจไม่เหมาะสมในแง่คุณธรรมจริยธรรม อาทิ การเล่นหวยบนดิน การทำแท้งเสรี หรือการุณฆาต ฯลฯ

อธิการบดีเดริค บ็อค (Derek Bok) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เป็นตัวอย่างผู้บริหารมหาวิทยาลัย ที่ได้สะท้อนความเป็นผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ในการนำพามหาวิทยาลัยให้ก้าวไปสู่โลกยุคใหม่ อย่างรู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลง และสร้างโอกาสแก่มหาวิทยาลัยในระยะยาว

เลี้ยงลูกทั้งทีต้องให้ดี
ผู้แต่ง: ศ.ดร.เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์
เคล็ดลับสำหรับคุณพ่อคุณแม่ในการปูทางลูกสู่ความสำเร้จสร้างเจ้าตัวเล็กให้เก่งทุกทางด้วยความรักและความเข้าใจพร้อมทั้งวางรากฐานที่ดีด้านจริยธรรมควบคู่กัน