ldquo;ไม่มีคำว่า ldquo;ผู้นำrdquo; (leader) ในโลกนี้ มีแต่เพียงคำว่า ldquo;ภาวะผู้นำrdquo; (leadership) เท่านั้นrdquo;


เจ้าของประโยคที่ผมยกมาข้างต้น คือ ศาสตราจารย์โรนัลด์ ไฮเฟท (Ronald A. Heifetz) ศาสตราจารย์สอนวิชาเกี่ยวกับภาวะผู้นำ ที่จอห์น เอฟ เคนเนดี้ สคูล ออฟ กอเวอร์เมนต์ (John F. Kennedy School of Government) ซึ่งเป็นสกูลหนึ่งในมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

การเปิดโอกาสให้ทีมงานอภิปราย ถกเถียง ส่งเสริมให้ทุกคนได้ใช้เหตุผล ได้แสดงความคิดเห็น แสดงทัศนะ หรือเสนอความคิดริเริ่มใหม่ ๆ ในเรื่องที่ต้องตัดสินใจ นับเป็นเรื่องดีที่ควรกระทำ เพราะนอกจากจะช่วยให้ได้รับประโยชน์จากความคิดใหม่ ๆ และทัศนะที่แตกต่างกันของเพื่อนร่วมงานแล้ว ยังช่วยให้การตัดสินใจของหัวหน้างานเป็นไปด้วยความรอบคอบมากยิ่งขึ้น

จากข่าวคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลักการเกี่ยวกับนโยบายด้านสังคม จำนวน 28 ประเด็น ประเด็นหนึ่งคือ แนวคิดการจัดทำแผนสวัสดิการลูกจ้าง โดยให้มีคณะกรรมการจัดทำแผนสวัสดิการลูกจ้าง ดำเนินการศึกษาจัดทำรายละเอียดการดึงเงินจากกองทุนประกันสังคมมาใช้ในการจัดสวัสดิการเงินกู้ให้ผู้ประกันตน ซึ่งจะมีผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานล่างในระยะสั้น อีกทั้งเพื่อการตั้ง ldquo;ธนาคารลูกจ้างrdquo; ต่อไปในอนาคต อันจะทำให้เกิดผลดีต่อลูกจ้างผู้ประกันตน 16 ล้านคน
จากสภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ชะลอตัวลง เนื่องจากการบริโภคภาคประชาชนและการลงทุนชะลอตัวลง รัฐบาลจึงต้องแสวงหามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมาเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ มาตรการหนึ่งที่มีการกล่าวถึง คือ โครงการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานตามมาตรฐานสากล หรือ ldquo;อีโคคาร์rdquo; ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมเชื่อว่า เป็นโครงการที่สามารถดึงการลงทุนเข้ามาได้ และยังเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในอีกทางหนึ่ง มารการนี้จึงกำลังจะถูกนำเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อหาข้อสรุปในวันที่ 5 มิถุนายนนี้

มีคำถามอยู่ 2 คำถามที่ผมต้องตอบเพื่อน ๆ จากเมืองไทยมากที่สุด นับตั้งแต่มาที่ฮาร์วาร์ด คำถามแรกldquo;อาจารย์ทำอะไรที่ฮาวาร์ดหรือครับ?rdquo;.....ผมเป็นนักวิชาการอาวุโส (Senior Fellow) ของศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Mossavar-Rahmani Center for Business and Government, Kennedy School of Government)
แม้ว่ารัฐบาล พยายามผลักดันให้ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับรับฟังความคิดเห็น ให้เป็นที่สนใจของสาธารณชนจนเกิดความกระตือรือร้นในการมีส่วนร่วมทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็น การทำความเข้าใจรับรู้เนื้อหารัฐธรรมนูญ การเสนอแนะถกเถียงในเชิงสร้างสรรค์ ไปจนถึงการลงประชามติรับร่างฯ มากเพียงใด แต่ก็ยังพบว่า คนไทยในปัจจุบันมีความเข้าใจเนื้อหาสาระ วัตถุประสงค์ เจตนารมณ์ ตลอดจนการนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตให้เกิดประโยชน์ไม่มากนัก

ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงของสถาบันอุดมศึกษาทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย มีความพยายามในการพัฒนาและปรับตัวเพื่อรองรับกับสภาพการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยหลายแห่งได้เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน อาทิ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ได้เปิดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตและวางแผนจะเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติในอีก 2 ปีข้างหน้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับมหาวิทยาลัยวอร์วิค (University of Warwick) สหราชอาณาจักร เปิดสอนระดับปริญญาโท หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ เมื่อจบการศึกษาจะได้ปริญญาบัตร 2 ใบ มหาวิทยาลัยรังสิตตั้งเป้าเป็นมหาวิทยาลัย 2 ภาษา เพื่อรองรับนักศึก
การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ (AEM retreat) ระหว่าง 3-4 พฤษภาคม2550 ที่ผ่านมา ณ กรุงบันดาเสรี เบกาวัน ประเทศบรูไน ที่ประชุมมีมติเห็นชอบแผนการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC blueprint) โดยจะมีการเปิดตลาดในภูมิภาคอาเซียน เพื่อมุ่งสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN Economic Community) ภายในปี พ.ศ.2553-2558

"ภาวะผู้นำเป็นศิลปะของการทำให้คนอื่นทำงานที่เราต้องการ เพราะเขาต้องการทำเช่นนั้น" (Leadership is the art of getting someone else to do something you want done because he wants to do it.)