July 2014

ปัจจัยหลักที่ก่อให้เกิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Based Economy)


แหล่งข้อมูลอ้างอิง : http://m5.paperblog.com/i/55/556628/rwandan-knowledge-based-economy-illusion-L-EYjaoi.jpeg

กรุงเทพธุรกิจ
คอลัมน์ : ดร.แดน มองต่างแดน

เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ผมได้รับเชิญไปบรรยายพิเศษเรื่อง "เศรษฐกิจโลก ... เวลาแห่งความเปลี่ยนแปลง" ในงานสัมมนาการส่งเสริมด้านการพัฒนาเศรษฐกิจอาเซียน ในการบรรยายครั้งนี้ ผมได้คาดการณ์ความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกไว้หลายด้าน แต่ในบทความนี้ผมจะกล่าวถึงเฉพาะประเด็นการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกสู่ "เศรษฐกิจฐานความรู้"

การเข้าสู่เศรษฐกิจฐานความรู้เป็นไปตามแนวคิด "คลื่นอารยะ 7 ลูก" ที่ผมได้วิเคราะห์ไว้ในหนังสือ "สยามอารยะ แมนนิเฟสโต : แถลงการณ์สยามอารยะ" ซึ่งกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของอารยธรรมของโลกจากคลื่นลูกที่ 0 คือสังคมเร่ร่อน สู่คลื่นลูกที่ 1 - 3 คือ สังคมเกษตรกรรม สังคมอุตสาหกรรม และสังคมข้อมูลข่าวสารตามลำดับ และปัจจุบัน โลกกำลังจะเข้าสู่คลื่นลูกที่ 4 คือ สังคมแห่งความรู้

การเปลี่ยนแปลงด้านการวิจัยและการพัฒนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในอนาคต (จบ)

 บทความที่ผ่านมาผมกล่าวถึงเนื้อหาส่วนหนึ่งจากบรรยายพิเศษในงาน International Conference on Arts and Science 2014 ที่จังหวัดสงขลา โดยอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของการวิจัยและพัฒนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันได้แก่ การขยายตัวแบบก้าวกระโดดในการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา ขอบเขตงานวิจัยที่กว้างขึ้นสู่ระดับภูมิภาค และการแข่งขันด้านการวิจัยและพัฒนาที่มีรุนแรงมากขึ้น

แสวงจุดร่วมสงวนจุดต่าง

หนังสือพิมพ์มติชน

การเปลี่ยนแปลงด้านการวิจัยและการพัฒนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในอนาคต

กรุงเทพธุรกิจ
คอลัมน์ : ดร.แดน มองต่างแดน

ต้นเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ผมได้รับเชิญไปบรรยายพิเศษในงาน International Conference on Arts and Science 2014จัดโดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยผู้ฟังประกอบด้วยอาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ในการบรรยายครั้งนี้ ผมได้อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีลักษณะที่สำคัญหลายประการ เช่น