สังคม

“คำพูดบอกเรื่องตัวเรา สิ่งที่เราพูดเรื่องตัวเราบอกว่าเราคิดว่าเราเป็นคนเช่นไร สิ่งที่เราพูดเรื่องคนอื่นบอกว่าเราเป็นคนเช่นไร” ดร. แดน แคนดู


คำพูดดังกล่าวนี้ ผมนำเสนอเป็นอินโฟกราฟฟิค (infographic) เพื่อให้ข้อคิดกับสังคม

กัญชา นับว่าเป็นพืชที่รู้จักกันมาเนิ่นนานนับแต่โบราณ กัญชาถูกนำมาใช้ประโยชน์ในหลายด้าน ยิ่งในปัจจุบันยิ่งได้รับความสนใจและถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวาง กัญชาถูกจัดให้เป็นสารเสพติดที่ผิดกฎหมายในหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย จนกระทั่งเมื่อปี 2562 รัฐบาลไทยภายใต้การนำของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้สนับสนุนนโยบายพรรคร่วมรัฐบาลอย่างพรรคภูมิใจไทย ผลักดันเรื่อง “กัญชา กัญชง” เสรี โดยปลดล็อคข้อจำกัดเพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากกัญชาเชิงพาณิชย์ ส่งผลให้เกิดอุตสาหกรรมกัญชาเติบโต มีร้านจำหน่ายกัญชาเปิดใหม่กว่า 20,000 แห่งทั่วประเทศ

ผมเคยนำเสนอความคิดลักษณะของไอดอลหรือปฏิมัตต์ ผู้มีบารมีทางด้านการสร้างชาติที่คนให้การนับถือสูงสุด ประกอบด้วย 9 ประการ สำหรับบทความครั้งนี้ผมขอนำเสนอโมเดลอารยะมนตรี หน้าที่ของมนตรี 8 ประการ อันเป็นโมเดลสำคัญที่จะช่วยให้การสร้างชาติสามารถสร้างผลลัพธ์ได้อย่างยั่งยืน ยาวนาน จากรุ่นสู่รุ่นไม่มีสิ้นสุด

“การเมือง คือ การใช้อำนาจหน้าที่เพื่อสาธารณประโยชน์” อริสโตเติล (Aristotle) บิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์ ได้กล่าวคำพูดอมตะประโยคนี้เอาไว้เมื่อหลายพันปีก่อน มีสาระสำคัญคือ การเมืองเป็นเรื่องของการเสียสละเพื่อทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เป็นสิ่งบริสุทธิ์ และเป็นคุณธรรมอันสูงส่ง

โลกที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้นส่งผลทำให้ผู้คนต้องเผชิญกับความยุ่งยาก วุ่นวาย และวิกฤตชีวิต มากขึ้น หลายคนเลือกหันกลับมาแสวงหาความสงบทางจิตใจหรือที่พึ่งทางใจ เช่น การอธิษฐานหรือการสวดมนต์ เป็นต้น

จากเหตุการณ์กรณีการกล่าวหาว่า “ศรีสุวรรณ เรียกรับ 1.5 ล้าน อธิบดีกรมการข้าว แลกไม่ยื่นร้องเรียน” กำลังเป็นประเด็นร้อนแรงในสังคม หลายคนตั้งคำถามถึงบทบาทและหน้าที่ของนักร้องเรียนในสังคมไทย ว่านักร้องเรียนมีประโยชน์ต่อสังคมหรือไม่ มีหน้าที่เพื่อช่วยเหลือประชาชน หรือทำเพื่อประกอบอาชีพตนเอง โดยการข่มขู่และรีดไถ่ เพื่อหวังผลประโยชน์ส่วนตนมากกว่า

ผมขอเริ่มต้นด้วยข้อคิดที่ว่า “ความสุขที่แท้จริง คือการได้ทำสิ่งที่มีคุณค่าทางใจ” ผมได้พบว่า คนจำนวนมากไม่ได้มีความสุขกับการทำงาน แต่ใช้เวลาชีวิตไปกับการทำงาน เพื่อทำมาหากิน และคนเหล่านี้มักดีใจเมื่อถึงวันศุกร์ เพราะจะได้พัก ไม่ต้องทำงาน เพราะมองงานเป็นภาระ ไม่ได้ทำให้มีความสุข

“ผู้เขียนขอเสนอแนวคิดเกี่ยวกับที่มาที่ไปและความแตกต่างของคำว่า ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) ทุนมนุษย์ (Human Capital) และ ศักยภาพสูงสุดของความเป็นมนุษย์ (Human Potentiality) เพราะสิ่งนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการกำหนดนโยบายที่ส่งเสริมและให้คุณค่าในการพัฒนามนุษย์ 

การทำงานเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับมนุษย์ทุกคน เมื่อเราเติบโตพ้นวัยเด็ก เราจะเข้าสู่ “วัยทำงาน” ซึ่งเป็นช่วงวัยที่ยาวนานที่สุด อาจจะมากกว่าครึ่งชีวิต ในการทำงานถ้าทำงานเพื่อเงิน โดยที่ไม่เห็นคุณค่าหรือไม่ได้ชอบงานที่ทำ ย่อมไม่มีความสุขในการทำงาน และถ้าเราไม่สามารถบูรณาการระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัวได้อย่างกลมกลืน อย่างมีประสิทธิภาพ แม้มีเวลามากก็อาจไม่ประสบความสำเร็จในชีวิตได้

ผู้เขียนเป็นคนหนึ่งที่สนับสนุน ยุทธศาสตร์การสร้าง คนดี คนเก่ง คนกล้า ซึ่งมองว่าสิ่งนี้เป็นประเด็นสำคัญของประเทศ และก็เป็นฟันเฟืองหนึ่งที่ช่วยขับเคลื่อนให้เกิดผลในภาคปฏิบัติ ผ่านทาง งานบรรยาย บทความ และหนังสือ