 |
หน้า
1
|
2
| 3
|
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 | |
|
หมวดเศรษฐกิจ
หมวดการเมืองไทย/ต่างประเทศ
หมวดสังคม
หมวดการศึกษา |
|
ดับไฟใต้…ระวังปลุกการกระแสชาตินิยม
1 ตุลาคม
2548
ในการแก้ไขสถานการณ์ภาคใต้ในเวลานี้
คำพูดของท่านนายกฯ
หลายข้อความแสดงถึงอารมณ์โกรธต่อผู้ก่อความไม่สงบ
ไม่ได้สะท้อนหลักเมตตาธรรมตามที่ท่านนายกฯ
ได้ให้สัญญาว่าจะใช้
เห็นได้จากการพูดผ่านรายการนายกฯทักษิณคุยกับประชาชนเมื่อวันที่
24
กันยายน
2548
อาจยิ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งและความไม่เข้าใจกันรุนแรงขึ้น |
|
กทช.ทำเพื่อผู้บริโภคจริงหรือ
30
กันยายน 2548
ในการแก้ไขสถานการณ์ภาคใต้ในเวลานี้
คำพูดของท่านนายกฯ
หลายข้อความแสดงถึงอารมณ์โกรธต่อผู้ก่อความไม่สงบ
ไม่ได้สะท้อนหลักเมตตาธรรมตามที่ท่านนายกฯ
ได้ให้สัญญาว่าจะใช้
เห็นได้จากการพูดผ่านรายการนายกฯทักษิณคุยกับประชาชนเมื่อวันที่
24
กันยายน
2548
อาจยิ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งและความไม่เข้าใจกันรุนแรงขึ้น |
|
คิดให้ดีก่อนใช้สมาร์ทการ์ด
3 จังหวัดใต้
26
กันยายน 2548
หลังจากเหตุการณ์การฆ่า 2
นาวิกโยธินที่หมู่บ้านตันหยงลิมอเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา
รัฐบาลได้ประกาศการบังคับใช้โครงการบัตรสมาร์ทการ์ด
1.3 ล้านใบ กับประชาชนใน
3
จังหวัดชายแดนภาคใต้ในเดือนตุลาคมนี้
โดยจะให้เลือกถือเพียงสัญชาติเดียวเท่านั้น
นายกฯทักษิณยังย้ำผ่านรายการนายกฯทักษิณคุยกับประชาชนเมื่อวันที่
24 กันยายน 2548 ว่า
“ถ้าใครไม่อยากเป็นคนไทยก็ให้บอกมา
ทุกคนต้องเลือกเพียงสัญชาติเดียวเท่านั้น” |
|
บทบาทของ UNHCR
ที่ถูกกล่าวหา
21
กันยายน 2548
เมื่อวันที่ 17 ก.ย.
ที่ผ่านมา นายกฯ
ได้กล่าวถึงการตำหนิหน่วยงานของสหประชาชาติในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน
ผ่านรายการนายกฯ
ทักษิณคุยกับประชาชน “ผมได้ถือโอกาสใช้เวทีนี้ก็พูดกันตรง
ๆ
เลยว่าองค์การสหประชาชาติ
ทำงานโดยไม่ประสานหรือไม่ทำงานเป็นลักษณะของพาร์ทเนอร์ชิพ
กับประเทศที่เกี่ยวข้องเท่าที่ควร
เป็นเรื่องไปทำงานเหมือนตำรวจซึ่งไม่ถูกต้อง
เพราะองค์กรสหประชาติเป็นองค์กรพหุภาคีที่ต้องทำงานในลักษณะพาร์ทเนอร์ชิพกับประเทศที่เกี่ยวข้อง
ผมก็เลยต้องต่อว่าเรื่องของการทำงานร่วมกับประเทศต่าง
ๆ” ... |
|
ความ(ไม่)เสี่ยงของการปรับค่าเอฟที
20
กันยายน 2548
การปรับสูตรคำนวณเอฟที (Ft)
ไม่ทำให้ กฟผ.
แบกรับความเสี่ยงอย่างแท้จริง
เพราะมีกลไกปกป้องผลประโยชน์ของตน
แต่ประชาชนต้องแบกรับภาระเพิ่มขึ้น
เพราะกลไกคืนกำไรผู้บริโภคได้ถูกทำลายแล้ว... |
|
สื่อยุค “ทวิลักษณ์ทางอำนาจ”
19
กันยายน 2548
กรณีบริษัท จีเอ็มเอ็ม
แกรมมี่
เข้าซื้อหุ้นมติชน
และกรณีการที่องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย
(อ.ส.ม.ท.)
ได้ปลดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์
สองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใกล้
ๆ กันนี้
คงเหมือนกับอีกหลายเหตุการณ์ที่สื่อต้องเผชิญในช่วงหลายปีที่ผ่านมานี้
นั่นคือ
การตกอยู่ภายใต้สภาพ
“ทวิลักษณ์ทางอำนาจ”
ระหว่าง
อำนาจของสื่อมวลชนตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
กับ
อำนาจของผู้นำองค์กรสื่อที่มักอยู่เหนือสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชน
ซึ่งอำนาจหลังนี้จะใหญ่กว่า... |
|
ข้อคิด 7 ประการ: FTA ไทย-ญี่ปุ่น
14
กันยายน 2548
ในการสัมมนา เรื่อง
“คนไทยได้อะไรจาก FTA
ไทย-ญี่ปุ่น” เมื่อวันที่
9 กันยายน 2548
ซึ่งจัดโดยคณะอนุกรรมาธิการเพื่อศึกษาพิจารณาเกี่ยวกับเศรษฐกิจมหภาคและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
สภาผู้แทนราษฎร
ผมในฐานะประธานอนุกรรมาธิการฯ
ได้ให้ข้อคิดหลายประการแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา
... |
|
นโยบายราคาน้ำมันที่บิดเบือน
13
กันยายน 2548
คณะอนุกรรมาธิการเพื่อพิจารณาศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจมหภาคและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ที่ผมเป็นประธาน
ได้จัดการประชุมเมื่อวันที่
8
กันยายน ที่ผ่านมา
โดยมีการพิจารณาประเด็น
“การกำหนดราคาพลังงานในประเทศไทย”
ผมได้เรียนเชิญผู้แทนจากหน่วยงานต่าง
ๆ มาชี้แจง
รวมทั้งได้รับเกียรติจาก
ดร.ปิยสวัสดิ์
อัมระนันทน์
ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญที่สุดคนหนึ่งในด้านพลังงาน
มาร่วมประชุมด้วย ... |
|
โจทย์สุดหิน :
ขยับเงินออมครัวเรือน
6
กันยายน 2548
ล่าสุดกระทรวงการคลังได้ปรับลดประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจปี
2548
ลงมาอยู่ที่ร้อยละ
4.1-4.6
จากเดิมร้อยละ
4.6-5.1
ซึ่งเป็นครั้งที่
3
ในรอบปี
นอกจากนี้รัฐบาลจะมีมาตรการกระตุ้นการออมภาคครัวเรือนให้เพิ่มขึ้นอีกร้อยละ
2
ของจีดีพีในแต่ละปี หรือ
ประมาณแสนล้านบาทในแต่ละปีเมื่อรวมกับการออมภาคบังคับที่กระทรวงการคลังเร่งให้มีผลบังคับใช้
... |
|
ย้ำการลงทุนแก้ปัญหาจราจรต้องรอบคอบ
2
กันยายน 2548
การปรับแผนการลงทุนรถไฟฟ้าใหม่ของรัฐบาล
โดยชะลอการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วงและยกเลิกสายส้มเป็นรถเมล์ด่วนพิเศษ
(BRT)
เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการลงทุน
และประหยัดงบประมาณ
เป็นการย้ำลักษณะความฉาบฉวยของรัฐบาลนี้เด่นชัดขึ้นจากการปรับแผนการลงทุนรถไฟฟ้าใหม่ของรัฐบาล
ต้องการให้รัฐบาลศึกษาความคุ้มค่าในการลงทุนอย่างรอบคอบ
แล้วจึงลงทุน...
|
|
รัฐบาลจัดงบไม่สร้างสรรค์
1
กันยายน 2548
การประชุมสภาผู้แทนฯ
เมื่อ 31 ส.ค. 2548
ที่ประชุมได้ร่วมกันอภิปรายร่าง
พ.ร.บ.งบประมาณปี 2549
ผมได้อภิปรายงบประมาณฉบับนี้
โดยใช้คำว่าเป็น
การจัดทำงบประมาณ
‘ไม่สร้างสรรค์’ คำว่า
“ไม่สร้างสรรค์” ในที่นี้
ไม่ได้หมายความว่า
การทำแบบเดิม ๆ
หรือไม่คิดค้นสิ่งใหม่
แต่หมายความว่าไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
การจัดทำงบประมาณฉบับนี้ไม่สร้างสรรค์อย่างไร
ผมขออธิบายใน 3 ประเด็น
ดังนี้... |
|
ภาคใต้มีระดับความรุนแรงเพิ่มขึ้น
29
สิงหาคม 2548
จากการที่วิปรัฐบาลได้สรุปตัวเลขสถานการณ์ความไม่สงบใน
3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
หลังการประกาศใช้
พ.ร.ก.การบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน
พ.ศ.2548
โดยเปรียบเทียบตัวเลขในช่วง
18-31 ก.ค.2548
พบว่าสถานการณ์ความรุนแรงลดลงเมื่อเทียบกับช่วง
1-18 ก.ค.2548
จำนวนเหตุการณ์ความไม่สงบลดลงจาก
85 ครั้ง เหลือ 48
ครั้งหลังการใช้ พ.ร.ก.
และความเสียหาย
(จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต)
ลดลงจาก 89 คน เหลือ 42
คน...
|
|
สื่อควรยกป้าย “ตอบสร้างสรรค์
- ไม่สร้างสรรค์”
ด้วยดีไหม?
26
สิงหาคม 2548
ในขณะที่ นายกฯ
ใช้สิทธิ “ยกป้าย”
ตัดสินคำถามของสื่อว่าสร้างสรรค์หรือไม่สร้างสรรค์
สื่อมวลชนควรสร้างดัชนีชี้วัดคำตอบนายกฯหรือแหล่งข่าวอื่น
ๆ ว่า
สร้างสรรค์หรือไม่สร้างสรรค์ด้วย
เพื่อให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสิน
น่าจะเป็นการยุติธรรมดี...
|
|
ความสับสนต่อการลงทุนโครงการอภิมหาช้าง
21
สิงหาคม 2548
จากคำกล่าวของ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร
เทวกุล
ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
และนายทนง พิทยะ รมต.ว่าการกระทรวงการคลังที่ชี้แจงตัวเลขในการลงทุนโครงการขนาดใหญ่
ไม่ตรงกัน กล่าวคือ
ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล
ชี้แจงว่า ตัวเลขการลงทุน
จะลดลงเหลือ 1.56
ล้านล้านบาท
ซึ่งการลดลงของมูลค่าการลงทุน
ทำให้ลดแรงกดดันต่อการขาดดุล
ในขณะที่ นายทนง พิทยะ
กล่าวว่า ตัวเลขการลงทุน
ยังคงเท่าเดิม คือ 1.7
ล้านล้านบาท เท่าเดิม...
|
|
FTA ไทย-ญี่ปุ่น
ระวังกำแพงแหล่งกำเนิดสินค้า
20
สิงหาคม 2548
ที่ผ่านมารัฐบาลไทยและญี่ปุ่นได้ข้อตกลงตกลงระดับนโยบายเกี่ยวกับการเปิดเสรีทางการค้า
ข้อตกลงที่เสร็จไปแล้วนั้นเป็นข้อตกลงทางภาษี
โดยมีสินค้า
และของไทยที่ลดภาษีเหลือศูนย์ทันที
และมีลดภาษีให้แต่ยังไม่เป็นศูนย์ในทันที
และในขณะนี้ทั้ง 2
ประเทศยังอยู่ระหว่างการเจรจาเรื่องแหล่งกำเนิดสินค้า
ซึ่งเป็นการเจรจาขั้นสุดท้าย... |
|
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
18
สิงหาคม 2548
การเมืองไทยในปัจจุบันได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน
ดังที่เรียกขานกันว่า
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
เช่น
การที่ประชาชนมีสิทธิที่เสนอร่างกฎหมายทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น
การขอยื่นถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่ประพฤติมิชอบ
การแสดงความคิดเห็นต่อโครงการของรัฐที่กระทบต่อชุมชนทั้งทางตรงหรือทางอ้อม
เป็นต้น... |
|
โครงการเชื่อมโยงข้อมูลเครือข่ายภาครัฐ
ทำไมไม่รีบทำ
15
สิงหาคม 2548
จากการทำงานในสภาผู้แทนราษฎร
ทำให้ผมมีโอกาสได้พูดคุยหน่วยงานทางด้านเศรษฐกิจต่าง
ๆ
ประเด็นหนึ่งที่ผมให้ความสนใจ
คือ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์
ด้วยเหตุว่าต้นทุนในด้านโลจิสติกส์ของไทยสูงมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น
หากปัญหานี้ได้รับการแก้ไขจะช่วยพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศและจะเป็นประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมอย่างมาก... |
|
“ครึ่งปีหลัง
รัฐบาลควรเปลี่ยนท่าทีการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ”
13
สิงหาคม 2548
เศรษฐกิจครึ่งปีแรกที่ผ่านมา
ชะลอตัว
มีปัญหาการขาดดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัด
เงินเฟ้อสูง
ซึ่งมีสาเหตุหลายประการ
อย่างไรก็ตาม
ผมเห็นว่าส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากท่าทีการดำเนินนโยบายของรัฐบาลด้วย
หากรัฐบาลยังคงมีท่าทีแบบเดิมต่อไปในครึ่งปีหลัง
ประชาชนอาจได้รับผลกระทบมากขึ้น... |
|
สื่อไทยมีเสรีภาพจริงหรือ?
9
สิงหาคม 2548
วันที่ 5
สิงหาคมที่ผ่านมา ฯพณฯ
นายกรัฐมนตรีเป็นประธานเปิดการประชุมใหญ่สมาพันธ์นักหนังสือพิมพ์แห่งอาเซียน
ครั้งที่ 15
ที่โรงแรมเซ็นจูรีปาร์ค
พร้อมปาฐกถาพิเศษแสดงความยินดีที่ประเทศไทยโดยสมาพันธ์นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
ได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม... |
|
ครม.ปรับใหญ่
ไม่ช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจ
4 สิงหาคม 2548
วันอังคารที่ 2 สิงหาคม
พ.ศ.2548 ที่ผ่านมา
รัฐบาลมีการปรับคณะรัฐมนตรี
ชุดทักษิณ 2/2 จำนวน 17
ตำแหน่ง
ถือได้ว่าเป็นการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งใหญ่
เพราะเป็นการปรับคณะรัฐมนตรีเกือบครึ่งหนึ่งของคณะรัฐมนตรีทั้งหมด...
|
|
คำชี้แจงเกี่ยวกับข้อมูลการคอร์รัปชันในโครงการเมกะโปรเจกต์
28 กรกฎาคม 2548
จากข่าวในคอลัมน์
‘สำนักข่าวหัวเขียว’
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
ประจำวันที่ 26 กรกฎาคม
2548 ที่ได้พาดพิงถึง รศ.ดร.
ต่อตระกูล ยมนาค
ว่าเป็นผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการคอร์รัปชันในโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ
โดยระบุว่า มีการคอร์รัปชันสูงถึงร้อยละ
40
ซึ่งจะทำให้รัฐบาลสามารถครองอำนาจได้นานถึง
136 สมัย หรือ 544 ปี... |
|
สิ่งที่ควรเพิ่มเติมจากถุงรับขวัญ
27 กรกฎาคม 2548
นอกจากถุงรับขวัญควรสำหรับเด็ก
ควรเพิ่ม
“ถุงพัฒนาทักษะการเรียนรู้”
แนะนำหนังสือ
แหล่งเรียนรู้
ให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง
เพื่อช่วยพัฒนาระดับสติปัญญาเด็กในระยะยาว...
|
|
แก้วิกฤติน้ำ
ด้วยการโฆษณา?
22 กรกฎาคม 2548
รองนายกรัฐมนตรี
ได้เปิดเผยหลังจากร่วมหารือกับนายกรัฐมนตรี
ถึงแผนบริหารการจัดการลุ่มน้ำ
และการแก้ปัญหาวิกฤติน้ำภาคตะวันออกว่า
ได้มีการสำรวจน้ำต้นทุนในพื้นที่อุตสาหกรรมภาคตะวันออก
และพบว่ายังใช้น้ำได้อีก
200 วัน
แม้ว่าจะไม่มีฝนตกเลย
และยืนยันว่าภาคตะวันออกจะมีนำใช้
5 แสนลูกบาศก์เมตร/วัน
โดยไม่ต้องลดกำลังการผลิต... |
|
6
แนวทางลดความเสี่ยงโครงการเมกกะโปรเจกต์ภาครัฐ
20 กรกฎาคม 2548
มาตรการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำของรัฐบาลยังมีช่องว่าง
จากกระบวนการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
และหลักเกณฑ์ในการพิจารณาขึ้นค่าจ้างที่ยังไม่เหมาะสม
ซึ่งอาจส่งผลให้ค่าแรงไม่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ
และกระทบภาพรวมของเศรษฐกิจ |
|
หากรัฐบาลยังลวง
จะเรียกความมั่นใจประชาชนได้อย่ายไร
15 กรกฎาคม
2548
รัฐจะตรึงราคาสินค้าไม่อยู่
เพราะมาตรการรัฐกระทบต้นทุน
เสนอให้แฉสินค้าที่ฉวยโอกาสขึ้นราคา
สร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
และลดภาษีผู้ผลิตสินค้าจำเป็น
ผลกระทบจากมาตรการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในระยะสั้นของรัฐบาล
จะทำให้ต้นทุนการผลิตของผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น
ซึ่งส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
รัฐบาลจึงควรจัดการอย่างเหมาะสมและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย...
|
|
สัมมนาเรื่อง “ความเสี่ยงโครงการการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐ
14 กรกฎาคม
2548
เมื่อวันพุธที่ 13
กรกฎาคมที่ผ่านมา
ผมได้รับการสัมภาษณ์จากสื่อมวลชนเรื่องข่าวเกี่ยวกับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้นของรัฐบาลที่พ.ต.ท.ทักษิณ
ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
อาจไม่สามารถเรียกความเชื่อมั่นกลับคืนมาได้มากนัก
หากรัฐบาลชุดนี้ยังเป็น ‘รัฐบาลลวง’... |
|
FTA
กับความมั่นคงทางอาหาร
6
กรกฎาคม 2548
ผมได้กล่าวไว้ในวันอภิปรายแล้วว่า
โครงการเมกะโปรเจกต์ของรัฐบาลซึ่งใช้งบประมาณสูงถึง
1.5 ล้านล้านบาทนั้น
มีโอกาสก่อปัญหาวิกฤตตามมา
เช่น
ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
ปัญหาหนี้สาธารณะ
และได้เสนอให้รัฐบาลเตรียมการล่วงหน้าให้พร้อม
เช่น
เตรียมการว่าจะหาเงินมาเพิ่มเพื่อทำให้โครงการสำเร็จได้อย่างไร
ประเมินต้นทุนและผลตอบแทนของโครงการ
ตลอดจนทำเอกสารสัญญาต่าง
ๆ อย่างระมัดระวัง
ซึ่งอาจทำให้ต้นทุนการดำเนินโครงการอยู่ในกรอบที่ควบคุมได้... |
|
งบปี 49 งบจอมเสี่ยง ‘ฝัน-แอบ-ฮั้ว’
ระวัง ‘รีดภาษี-ซ่อนหนี้-โกงกิน’
2 กรกฎาคม 2548
การอภิปรายในวาระการพิจารณารับหลักการของร่าง
พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี
พ.ศ.2549 เมื่อวันที่ 30
มิ.ย.2548
ผมวิพากษ์การจัดงบฯว่า
เป็น ‘งบจอมเสี่ยง’
เพราะนำพาความเสี่ยง 3
ด้าน ... |
|
ธ.ก.ส.
ไม่ควรให้รัฐมนตรีกำหนดปริมาณเงินสำรอง
26 มิถุนายน 2548
การแยกฝ่ายกำกับและดูแลระบบสถาบันการเงินออกจากธนาคารแห่งประเทศไทยมาไว้ที่กระทรวงการคลังนั้น
เป็นประเด็นที่ยังคงมีการถกเถียงกันอยู่
และยังคงไม่ได้ข้อสรุป
แต่อย่างไรก็ตามมีหลายคนที่ได้ออกมาแสดงความคิดเห็นคัดค้านในเรื่องดังกล่าว
ซึ่งผมเองก็เป็นคนหนึ่งที่ไม่เห็นด้วยกับความคิดดังกล่าว... |
|
|