แม้การท่องเที่ยวของน่านจะได้รับความสนใจมากขึ้น แต่ยังคงเป็นเมืองรองที่ไม่ใช่จุดหมายของนักท่องเที่ยวต่างประเทศ หากสามารถผลักดันยุทธศาสตร์ขึ้นมา โดยเฉพาะการนำเอาภาพลักษณ์ด้านความรัก ให้กลายเป็นเมืองหลวงโลกแห่งความรัก น่าจะเป็นต้นแบบให้กับจังหวัดอื่นได้ 

ตั้งแต่ปลายปี 2019 โลกได้ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โควิด -19 อย่างหนัก โดยเฉพาะในทางเศรษฐกิจ ปัจจุบันเศรษฐกิจโลกเริ่มฟื้นตัว เป็นผลมาจากรัฐบาลทั่วโลกพยายามกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยจำนวนเงินกระตุ้นเศรษฐกิจทั่วโลกต่อเนื่องจากปี 2020 สูงถึง 7.9 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ และมีโอกาสจะเพิ่มสูงขึ้นอีก รวมทั้งการเกิดขึ้นของอุตสาหกรรมใหม่หลังโควิด และการค้นพบวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ซึ่งทำให้ความกังวลในติดเชื้อโควิด -19 ลดลงไปอย่างมาก เช่นเดียวกันกับโลก เศรษฐกิจไทยได้ผ่านจุดต่ำสุดไปแล้วและกำลังฟื้นตัวอย่างช้า ๆ เป็นผลมาจากการคลายล็อกดาวน์และการเพิ่มค่าใช้จ่ายและการลงทุนของรัฐ

ขอเสนอกลยุทธ์ระดับนโยบายรัฐ ในการฟื้นคืนชีพการท่องเที่ยวไทยประเทศ ที่ควรกำหนดยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว โดยตั้งอยู่บนต้นทุนที่เป็นจุดแข็งของประเทศ 4 ด้าน คือ อาหาร การท่องเที่ยว การบริการสุขสภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ 

ก่อนวิกฤตโควิด ภาคการท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง สร้างรายได้ให้ประเทศไทยประมาณร้อยละ 20 ของ GDP หรือประมาณ 3.1 ล้านล้านบาท โดยมีรายได้มาจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ 1.93 ล้านล้านบาท และนักท่องเที่ยวไทย 1.08 ล้านล้านบาท

ซึ่งรายได้จากการท่องเที่ยวกระจายไปสู่ธุรกิจสายการบิน การเดินเรือ ธุรกิจรถเช่าโรงแรม ร้านอาหาร และยังมีธุรกิจอื่นที่ได้รับประโยชน์โดยอ้อม โดยเฉพาะเศรษฐกิจท้องถิ่นเศรษฐกิจภาคการเกษตร และภาคบริการอื่นๆ นอกจากนี้ ยังทำให้เกิดการจ้างงานทั้งโดยตรงและโดยอ้อมถึงประมาณ 8 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ของกำลังแรงงานของประเทศ

“เราจะพัฒนาโลจิสติกส์อย่างไรที่จะสนับสนุนให้เกิดการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจในไทยและอีอีซีได้อย่างรวดเร็วเพียงพอที่จะทำให้ฝ่าวิกฤตไปได้ เพื่อตอบคำถามดังกล่าว ผู้เขียนขอวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาโลจิสติกส์ของอีอีซีที่จะช่วยประเทศไทยฝ่าวิกฤตไว้ในบทความนี้” 

เปิด 10 รูปแบบ "นวัตกรรม" ที่จะสามารถตอบสนองความต้องการในภาวะวิกฤติ จากการสร้างสรรค์ความรู้ และความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้จนเกิดเป็นเทคโนโลยี ซึ่งหากธุรกิจใดเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างความรู้กับเทคโนโลยี ย่อมนำไปการฟื้นฟูธุรกิจได้  

ผ้าอนามัยโกเต๊กซ์ กระดาษทิชชู่คลีเน็กซ์ รถเต่าโฟล์คสวาเกน ช็อกโกแลตเอ็มแอนด์เอ็ม แว่นตาเรย์แบน น้ำอัดลมแฟนต้าและวิทยุสื่อสารโมโตโรลา คือตัวอย่างธุรกิจที่เกิดขึ้นช่วงวิกฤติสงคราม หรือแอพพลิเคชั่นไลน์เกิดขึ้นในญี่ปุ่นท่ามกลางวิกฤตการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิเมื่อ 10 ปีก่อน ธุรกิจข้างต้นมีจุดร่วมที่คล้ายคลึงกัน คือมีนวัตกรรมที่สามารถตอบสนองความต้องการในภาวะวิกฤติ  

ผมเรียกตัวเองว่าเป็น นวัตกรที่ประหยัด (Thrifty innovationist) เพราะ เป็นคนที่ชอบคิดสิ่งใหม่ตั้งแต่เด็ก 

 เมื่อใช้สิ่งของต่าง ๆ แล้วรู้สึกยังไม่ดีพอ เช่น ไม่ประหยัดเวลา ไม่สะดวก ขั้นตอนยุ่งยาก ผมจะคิดเสมอว่า ‘น่าจะทำให้ดีกว่านี้ได้’ โดยนวัตกรรมทางความคิดที่ผมเคยคิดเมื่อยังเป็นเด็ก ขณะนี้มีคนทำให้เกิดขึ้นแล้ว ไม่ว่าจะเป็น กระเป๋าแบบมีล้อ อาหารที่สามารถอุ่นได้ในตัว รถยนต์ไร้คนขับ เป็นต้น

โลกอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านไปสู่ยุคใหม่ โดยเฉพาะการกระชากเปลี่ยน (disruption) ทางเทคโนโลยี ที่เข้ามาเปลี่ยนโฉมหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
         

ปัญหาความยากจนที่ยังมีจำนวนมากในชนบทไม่สามารถพัฒนาชนบทด้วยวิธีการแบบเดิมๆ เราต้องทำงานให้หนักขึ้นเร็วขึ้น และฉลาดขึ้นหากต้องการยกระดับชนบทให้พ้นจากความยากจนและยกระดับประเทศไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว 

ในบทความครั้งที่ผ่านมา ผมได้กล่าวถึง การบรรยายพิเศษในหัวข้อ “เศรษฐกิจการตลาด” ในงาน “สร้างอาชีพ สู่ชุมชน” ซึ่งจัดโดยธนาคารออมสินร่วมกับสถาบันปัญญาภิวัฒน์ เพื่อพัฒนากลุ่มเยาวชนให้มีความรู้ในการทำโครงการสร้างอาชีพในชุมชน

เปิดหน้าตักดูขุมกำลังทางเศรษฐกิจและโอกาสของการพัฒนาประเทศในอาเซียน และเปรียบเทียบศักยภาพ EEC กับคู่แข่งในภูมิภาคนี้ รวมถึงข้อเสนอจากผู้เขียนถึงประเด็นสำคัญสำหรับการพัฒนา EEC หากจะแข่งขันกับประเทศอื่นในอาเซียนได้มากขึ้น 

ปัจจุบันอาเซียนมีเขตเศรษฐกิจมากกว่า 1,000 แห่ง และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สะท้อนให้เห็นถึง การแข่งขันในการดึงดูดการลงทุนที่ค่อนข้างรุนแรง เนื่องจากความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยใช้เขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone: SEZ) ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ

คิดเป็นระบบ ช่วยพัฒนาประเทศได้อย่างไร? เป็นคำถามที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้ผู้อ่านได้ลองพิจารณาข้อเสนอของผู้เขียน ที่อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและแนวทางการพัฒนาประเทศ โดยยกตัวอย่างความสำเร็จจากประเทศสิงคโปร์ ที่เพิ่มรายได้ประชาชาติเป็นร้อยเท่าในช่วง 50 ปี