โลกกำลังอยู่ในสังคมข้อมูลข่าวสารคาบเกี่ยวกับสังคมความรู้ ผู้ที่สามารถจัดการข้อมูลและเปลี่ยนข้อมูลเป็นความรู้ ย่อมมีความได้เปรียบเพราะการประยุกต์ใช้ความรู้จะนำไปสู่การต่อยอดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม ดังจะเห็นได้จากการนำเครื่องจักร หุ่นยนต์ และปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาทำงานแทนมนุษย์มากขึ้น International Federation of Robotics คาดการณ์ว่า ภายในปี 2561 หุ่นยนต์อุตสาหกรรมทั่วโลกจะมีจำนวนทั้งสิ้น 2.4 ล้านยูนิต และ BCG คาดว่า ในปี 2568 หุ่นยนต์หรือ AI จะเข้ามาทำงานแทนมนุษย์ถึง 1 ใน 4 และธนาคารกลางอังกฤษคาดว่า ในอีก 10-20 ปีข้างหน้า งานในอังกฤษและสหรัฐฯ กว่า 40-50% จะถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์ ในบทความตอนนี้ จะนำเสนอ 2 ประการสุดท้ายของแนวโน้มการเงินการธนาคารในศตวรรษที่ 21 ดังต่อไปนี้

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของระบบการเงินการธนาคารที่สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนมากที่สุด คือ
การเปลี่ยนจาก “บริการออฟไลน์” สู่ “บริการออนไลน์” และจาก “สังคมใช้เงินสด” สู่ “สังคมไร้เงินสด” ทั้ง 2 แนวโน้มกำลังปรากฏมากขึ้นเรื่อย ๆ ในสังคมไทย
อย่างไรก็ดี นอกเหนือจากแนวโน้มข้างต้น ในบทความตอนนี้ ผมขอนำเสนออีก 2 แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นกับระบบการเงินการธนาคาร ดังนี้

ปัจจุบัน ระบบการเงินการธนาคาร กำลังเข้าสู่ยุคเปลี่ยนผ่านครั้งสำคัญ การพัฒนาทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางการเงิน (Fin Tech) จะสร้างผลกระทบอย่างรุนแรง ต่อระบบการเงินการธนาคารของไทยและของโลก และทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิถีการดำเนินชีวิต ผมได้สรุปแนวโน้มไว้ 6 ประการ แต่ในบทความนี้จะขอนำเสนอ 2 ประการแรก ดังต่อไปนี้

ประการที่ 1 จาก “บริการออฟไลน์” สู่ “บริการออนไลน์” ประชาชนนิยมใช้บริการออนไลน์มากขึ้น ทำให้ธนาคารต้องลดจำนวนสาขาลง ผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์ว่าในอีก 10 ปีข้างหน้า งานในธนาคารแบบเดิมจะหายไปร้อยละ 30 ถึงร้อยละ 50 ซึ่งหมายความว่า ตำแหน่งงานในธุรกิจธนาคารจะหายไปในสัดส่วนเดียวกัน ทั้งนี้ยังไม่รวมผลกระทบต่อธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การธนาคารออนไลน์ (Online Banking) ในปัจจุบัน มี 3 รูปแบบ ได้แก่

     “เด็กและเยาวชนไทยสามารถเป็นผู้ที่นำการเปลี่ยนแปลงได้ โดยการหล่อหลอมจากพ่อแม่ผู้เป็นแบบอย่างที่ดีของการเป็นพลเมืองในประเทศ”
     การสร้างความตระหนักในการเป็น “พลเมือง” ของประเทศเป็นสิ่งสำคัญ ความรู้สึกเป็นเจ้าของ เสียสละ อาสาตัวไม่เพิกเฉยต่อปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากความรักประเทศชาติ  อันเปรียบเสมือนกับบ้านที่ตนเองอยู่อาศัย   บ้านมีปัญหา บ้านไฟไหม้ จะอยู่ไปอย่างหลับหูหลับตาไม่รับรู้ปัญหา ไม่รู้ร้อนรู้หนาว ไม่สนใจว่าอะไรจะเกิดขึ้นในบ้านของตนได้อย่างไร  
     ผมกล่าวเสมอว่า “ในเรื่องเดียวกัน คนที่มีหลักปรัชญาที่แตกต่างกัน จะมีจุดยืนและการตัดสินใจที่แตกต่างกัน” ยกตัวอย่าง เหมา เจ๋อตุง และเติ้ง เสี่ยวผิง บริหารจัดการประเทศจีนต่างกัน เพราะมีปรัชญาเบื้องหลังเกี่ยวกับมนุษย์ที่ไม่เหมือนกัน
     เหมา เจ๋อตุง มีหลักปรัชญาที่ว่า ‘มนุษย์เห็นแก่ผู้อื่น ยินดีเสียสละแบ่งปัน ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน’ทำให้เกิดเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลางและระบบคอมมูน โดยมองว่าชาวนาเป็นแรงงานของรัฐ ทุกคนได้รับผลตอบแทนเท่ากัน
     เติ้ง เสี่ยวผิง มีหลักปรัชญาว่า ‘มนุษย์เห็นแก่ประโยชน์ตัวเองมากกว่าผู้อื่น’ และการจะทำเพื่อผู้อื่นนั้นจะต้องมีแรงจูงใจ จึงนำไปสู่การปฏิรูปเศรษฐกิจโดยการใช้แรงจูงใจแก่ชาวนาในชนบท และใช้กลไกตลาดแบบค่อยเป็นค่อยไป
     ประเทศมาเลเซียมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศพัฒนาแล้ว หรือประเทศรายได้สูง (รายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ที่ 15,000 ดอลลาร์ ตามเกณฑ์ของธนาคารโลก) ภายในปี 2020 โดยปัจจุบัน ประเทศมาเลเซียมีรายได้ต่อหัวประชากร (GNI per capita, Atlas method) ในปี 2016 อยู่ที่ 9,860 ดอลลาร์ ขณะที่ประเทศไทยมีรายได้ต่อหัวประชากรอยู่ที่ 5,640 ดอลลาร์ 

ข้อมูลจากธนาคารโลก บ่งชี้ว่า ประเทศที่ประชาชนมีความรักชาติมากจะมีการคอร์รัปชันต่ำ ประชาชนจะสนใจเพื่อนร่วมชาติ และไม่ละเมิดกฎหมาย สิทธิของผู้อื่น ส่งผลให้ประชาชนมีความสุข โดยคนที่ทำร้ายสังคมหรือคอร์รัปชันจะถูกต่อต้านและคว่ำบาตร ในทางตรงกันข้าม ประชาชนที่ไม่รักชาติ จะทำลายซึ่งกันและกัน เพื่อประโยชน์ส่วนตัว ไม่สนใจเรื่องการฉ้อฉล กลโกง และความพินาศของประเทศ พฤติกรรมดังกล่าวย่อมนำไปสู่ความไม่ไว้วางใจ และความไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งส่งผลร้ายต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศโดยตรง

Recently, I was honored by the Inter-City Motorways Division, Department of Highways to be a keynote speaker for a seminar held on the topic of “Co-thinking & Co-planning for the Future of Thai Motorways”. This event was convened under a project to identify strategies for the development of motor expressways connecting different cities of Thailand.
At the end of April 2016 a coordinating committee consisting of three parties (the Thai Cabinet, the National Legislative Assembly, and the National Reform Steering Assembly) resolved to speed up the Bio-economy Reform Strategy in order to include it in both the National 20 Year Plan and the 12th National Economy & Social Development Plan.

เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 ผมได้รับเชิญไปบรรยายในการประชุมวิชาการด้านการบริหารธุรกิจระดับชาติและนานาชาติ ปี 2560 (Business Administration National and International Conferences 2017) ซึ่งจัดโดยคณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัย  ราชภัฏอุบลราชธานี ภายใต้หัวข้อ ‘ผลกระทบของนวัตกรรมต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจโลก’ ผมจึงขอแบ่งปันถึงสิ่งที่ได้นำเสนอในงานประชุมครั้งนี้