การศึกษา

แนวคิดเรื่องการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืนเริ่มได้รับการยอมรับและกล่าวถึงมากขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย แนวคิดนี้ได้เน้นให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา โดยพยายามผลักดันให้มีการพัฒนาคุณภาพของคนผ่านทางการศึกษา

ความพยายามในการแก้ไขปัญหาความยากจนของรักษาการนายกฯ ในส่วนของการศึกษา โดยการออกโครงการเพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่พ่อแม่มีฐานะยากจน ด้วยการนำเงินจากกองสลากมาใช้ ไม่ว่าจะเป็น ทุนเรียงความ หนึ่งอำเภอ หนึ่งทุนการศึกษา เป็นเสมือนโครงการที่หวังดี แต่หากโครงการนี้ดำเนินต่อไป ผลร้ายจะตามมา

เมื่อวันที่ 7 สิงหาคมที่ผ่านมา คุณปณิธาน ยามวินิจ ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์) ได้กล่าวในที่ประชุมเชิงปฏิบัติการของสำนักงานสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาฯ ว่า ldquo;ในอีก 5 ปีข้างหน้า นับตั้งแต่ปี 2549 จะมีการผลิตกำลังคนระดับปริญญาตรี ปวส. ปวช.

เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ที่ผ่านมาผมได้เห็นข่าวที่ท่าน ศ.ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.)ประกาศผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยระบุว่าจากสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประเมิน 30,010 แห่ง ปรากฏว่าประมาณ 2 ใน 3 หรือมากกว

ความคาดหวังของสังคมที่มีต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการคนใหม่ ในการเข้ามาแก้ไขปัญหาการศึกษาหลายประเด็น เช่น การเพิ่มเงินอุดหนุนรายหัวในแต่ละระดับให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายสำหรับจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ กองทุนเพื่อช่วยเหลือเด็กยากจนและด้อยโอกาส ปัญหาขาดแคลนครู การปรับปรุงระบบบุคลากร การถ่ายโอนสถานศึกษาให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงการแยกกระทรวงใหม่ ฯลฯ

กระแสการผลักดันให้มหาวิทยาลัยของรัฐออกนอกระบบ ส่งผลให้สังคมเป็นห่วงเรื่องผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นต่อผู้เรียนและสังคม แต่หากพิจารณาในหลักการของการให้มหาวิทยาลัยของรัฐออกนอกระบบ มุ่งเน้นให้มหาวิทยาลัยมีอิสระในการบริหารจัดการ การควบคุมและการกำกับของรัฐบาลลดลง หรือมีให้น้อยที่สุด โดยเน้นการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดความโปร่งใส ซึ่งนับว่าเป็นหลักการที่ดี แต่ในขณะเดียวความกังวลในเรื่องของค่าธรรมเนียมและค่าบำรุงการศึกษาที่จะเพิ่มมากขึ้น รวมถึงการทำให้การศึกษากลายเป็นการค้าที่มุ่งผลกำไรเป็นสำคัญ ส่งผลให้กลุ่มคณาจารย์และนักศึกษาส่วนหนึ่ง ออกมาเรี